โปรแกรม ส แค ร ช: 2.1 โปรแกรม Scratch - วิทยาการคำนวณ(Computing Science,Cs) ม.2

ปรากฏหน้าต่างของแท็บ Costumes ตัวอย่างเป็นการสร้างตัวละครใหม่ เป็นรูปหอยทาก 3. เมนูเครื่องมือในการวาด 4. กล่องสี 6. การเพิ่มชุดตัวละคร 1. คลิกขวาที่รูปภาพ costume1 เลือกคำสั่ง duplicate เพื่อสร้างชุดตัว ละครใหม่เหมือนกับชุดตัวละคร costume1 2. คลิกรูปภาพ costume2 เพื่อแก้ไขชุดตัวละคร 3. คลิกเครื่องมือ ( Grow) เพื่อขยายขนาดรูปภาพเพื่อปรับแก้ชุดตัวละคร 7.

รับซื้อแบงค์ 50 บาท ร.9 ราคาใบละ4,000บาท ซื้อจริง จ่ายสด - YouTube

ไพบูลย์บอก "มีภูมิต้านทาน" กระแสวิจารณ์ "เพราะผมน้อมนำคำสอนพระพุทธเจ้า" - workpointTODAY

คลิกที่ตัวละคร Monkey2 2. คลิกแท็บ Costumes 3. คลิกขวาที่ชุดตัวละครที่ต้องการ จะปรากฏเมนูคัดลอก ลบ และบันทึกชุดตัวละคร 4. ตัวละครในตัวอย่างมีชื่อว่า monkey2 ประกอบด้วยชุดตัวละคร 2 ชุด ชื่อชุดตัวละครที่ 1 ชื่อว่า monkey2-a มีลักษณะยกมือขึ้น 2 ข้าง ชื่อชุดตัวละครที่ 2 ชื่อว่า monkey2-b มีลักษณะมือลงทั้ง 2 ข้าง 5.

Ozark trail 40 oz ราคา containers

คลิกเมนู File -> Save หรือ Save As จะปรากฏกรอบโต้ตอบ Save Project 2. เลือก Drive และ Folder ที่ต้องการบันทึกงาน 3. พิมพ์ชื่อโปรเจกต์ 4. คลิกปุ่ม Save โปรเจกต์จะถูกบันทึก จะได้ไฟล์ข้อมูลที่มีส่วนขยายเป็น. sb2 ในโฟล์เดอร์ที่ใช้ บันทึกงาน เช่น 2 วิดีโอ รู้จักโปรแกรม Scratch เรามาทำใบงานกันเถอะ

รู้จักโปรแกรม Scratch

บทประยุกต์การนำความรู้ไปใช้ ความรู้พื้นฐานในการเขียนโปรแกรมด้วย Scratch โดยใช้ลักษณะคำสั่งบล็อกสามารถพัฒนาต่อยอดในการเขียนชุดคำสั่งสั่งงานชุดควบคุมต่างๆ ได้ เช่น บอร์ด Microbit ที่มา: บอร์ด Kidbright บอร์ด arduino uno โครงสร้างผังงานการทำงานแบบทำซ้ำ ลักษณะโครงสร้างผังงานการทำงานแบบทำซ้ำ ใช้ประโยชน์ในกรณีที่ต้องการทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งซ้ำกันหลายๆ ครั้ง โครงสร้างผังงานแบบทำซ้ำ จะประกอบไปด้วยสัญลักษณ์การตัดสินใจ ใช้สำหรับการตรวจสอบเงื่อนไขเพื่อตัดสินใจว่าจะเข้าสู่ขั้นตอนการทำซ้ำหรือไม่ ลักษณะการทำซ้ำสามารถแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. ทำในขณะที่ 2. ทำจนกระทั่ง การทำซ้ำลักษณะทำในขณะที่ การทำงานของโครงสร้างผังงานการทำซ้ำลักษณะทำในขณะที่ ขั้นตอนแรกของการทำงาน คือ การตรวจสอบเงื่อนไขการทำซ้ำ ถ้าผลที่ได้จากการตรวจสอบเงือนไขเป็นจริง จึงเข้าสู่ขั้นตอนของการทำงานในส่วนของการทำซ้ำ ถ้าผลที่ได้จากการตรวจสอบเงื่อนไขยังคงเป็นจริง การทำงานจะเข้าสู่ขั้นตอนการทำงานที่ต้องทำซ้ำอีกครั้งหนึ่ง ทำซ้ำเช่นนี้จนกว่าผลที่ได้จาการตรวจสอบเงื่อนไขเป็นเท็จ จึงออกจากขั้นตอนการทำซ้ำ เพื่อทำงานในขั้นตอนต่อไป ชุดคำสั่งให้ทำงานทำซ้ำสำหรับการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา C มีอยู่ 3 รูปแบบ คือ 1.

สอบถามราคาเช็คช่วงล่างรถไม่ได้หรอคะ โทรไปถามศูนย์ ก็ไม่ยอมบอกราคา - Pantip

งาน นวด พัทยา มี ที่พัก

โปรแกรม สแครช

  1. First team juventus Season 1 ดู ซีรีส์เน็ตฟลิกซ์ Dooseries TV
  2. จุกนมพีเจ้น จุกนมเสมือนการให้นมมารดา - สินค้าแม่และเด็ก ชุดคนท้อง เสื้อผ้าคนท้อง กางเกงในคนท้อง ชุดนอนคนท้อง ของเล่นเด็ก ของเล่นเสริมพัฒนาการ ของเล่นไม้ ขวดนมเด็ก ของใช้คุณแม่ : Inspired by LnwShop.com
  3. หลักสูตร สอบ ผู้ บริหาร สถาน ศึกษา 256 mo tv
  4. โปรแกรม สแครช
  5. สธ. ยันผู้เสียชีวิต 13 ราย ไม่เกี่ยววัคซีนโควิด
  6. คา สิ โน ถูก กฎหมาย ต่าง ประเทศ
  7. อินเวอร์เตอร์ ทำงานอย่างไรและอินเวอร์เตอร์ ราคาเท่าไหร่ - A Hub Of Conversation & Resource Sharing

2.1 โปรแกรม Scratch - วิทยาการคำนวณ(Computing Science,CS) ม.2

สคริปต์ (Script) เวที เวทีมีขนาดกว้าง 480 หน่วย สูง 360 หน่วย ในแต่ละโปรเจกต์มีเวทีเดียว จึงมีชื่อเดียวและ ไม่สามารถเปลี่ยนชื่อได้ เวทีใช้แสดงผลการทำงานของสคริปต์ (script) เสียง (sound) หรือฉาก (background) ได้ และฉากที่จะแสดงบนเวทีจะต้องมีขนาดไม่เกินขนาดของเวที (480 X 360) ถ้าพื้นหลังที่ใช้มีขนาดใหญ่กว่า โปรแกรม Scratch จะลดขนาดพื้นหลังนั้นอัตโนมัติเพื่อให้พอดีกับขนาดของเวที รายละเอียดของเวที 1. คลิก Stage เพื่อดูรายละเอียดของเวที 2. แท็บ Scripts ของเวที 3. แท็บ Backdrops 4. แท็บ Sounds 5. เพิ่มฉากใหม่ New Backdrop 6.

7. 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหวประกอบเสียงดนตรี 7. 3. 1 การสร้างโปรเจกต์เพื่อให้มีการเปลี่ยนภาพฉาก ( Backdrops) ของเวที ( Stage) ได้หลายภาพ สามารถเขียนสคริปต์ให้ตัวละครหรือฉากแยกส่วนกัน เพื่อสั่งงานให้เกิดเหตุการณ์ที่ต่างกัน แต่แสดงผลการทำงานไปพร้อมๆ กัน ซึ่งบล็อกที่ใช้มีดังต่อไปนี้ 1. การเพิ่ม ลบตัวละคร 1. วิธีที่ 1 คลิกเครื่องมือ ( Delete) 2. หรือ วิธีที่ 2 คลิกขวาที่ตัวละคร 3. คลิกคำสั่ง delete 2. การเพิ่มตัวละคร ( Sprite) จากไฟ ล์ภาพ ดังนี้ 1. คลิกที่ไอคอน ( Choose sprite from library) จะปรากฏหน้าต่าง Sprite Library ดังรูป 2. คลิก Category: Animals 3. เลือกชุดตัวละคร ( Sprite) 4. คลิกปุ่ม ok 3. การส่งออกตัวละคร 1. คลิกขวาที่ตัวละคร 2. เลือกคำสั่ง Save to local file 3. คลิกเลือกโฟลเดอร์ที่ต้องการจัดเก็บ Documents / Scratch Projects 4. คลิกปุ่ม open 5. ตั้งชื่อไฟล์ตัวละคร 6. คลิกปุ่ม save 4. การเพิ่มตัวละคร 1. คลิกไอคอน New sprite: Upload sprite from file 2. เลือกโฟลเดอร์ที่ได้เก็บบันทึกไว้ Documents/Scratch Projects 3. เลือกไฟล์ตัวละคร 5. การเพิ่มตัวละครแบบวาดขึ้นเอง 1. คลิกไอคอน New sprite: Paint new sprite 2.

โปรแกรม สแครช

โปรแกรม Scratch (สะแครช) เป็นโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ ที่ผู้เรียนสามารถสร้างชิ้นงานได้อย่างง่าย เช่น นิทานที่สามารถโต้ตอบกับผู้อ่านได้ ภาพเคลื่อนไหว เกม ดนตรี และศิลปะ และเมื่อสร้างเป็นชิ้นงานเสร็จแล้ว สามารถนำชิ้นงานที่สร้างสรรค์นี้ แสดง และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกับผู้อื่นบนเว็บไซต์ได้ ทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้หลักการและแนวคิดการโปรแกรมไปพร้อมๆ กับการคิดอย่างสร้างสรรค์ มีเหตุผล และเป็นระบบ ส่วนประกอบหลักของโปรแกรม ที่มา: 1. แถบเมนูเครื่องมือ (Toolbar) 2. เวที (Stage) 3. รายการตัวละคร (Sprite) 4. กลุ่มบล็อก 5. บล็อกคำสั่ง 6. พื้นที่ทำงาน (Script) เวที (Stage) เวทีมีขนาด กว้าง = 480 หน่วย สูง= 360 หน่วย ในแต่ละโปรเจกต์มีเวทีเดียว จึงมีชื่อเดียวและไม่สามารถเปลี่ยนชื่อได้ เวทีใช้แสดงผลการทำงานของสคริปต์ (script) เสียง (sound) หรือฉาก (backdrop) ได้ การบอกตำแหน่งใดๆ บนเวทีจะบอกโดยใช้ค่า (x, y) เช่น ตำแหน่งกลางเวที จะมีค่า (x, y) เป็น (0, 0) รูปภาพ 1 การบอกตำแหน่งใดๆ บนเวที (สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท. )) สคริปต์ สคริปต์ คือ ชุดคำสั่งสำหรับตัวละครหรือเวที เพื่อสั่งให้ตัวละครหรือเวทีทำงานตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ โดยการเลือกสคริปต์จากกลุ่มบล็อก ซึ่งแบ่งเป็น 8 กลุ่ม ดังนี้ รูปภาพ 2 กลุ่มบล็อก (สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท. ))