จุด ประสงค์ ของ ผู้ เขียน

  1. จุดประสงค์ของการเขียน - ภาษา ประดุจ แก้วสารพัดนึก
  2. การเขียนเพื่อการสื่อสาร – THAI

คณาจารย์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย ( ๒๕๕๑, หน้า ๑๗๙ – ๑๘๑)ได้กล่าวถึงจุดมุ่งหมายของการเขียนดังต่อไปนี้ ๑. การเขียนเพื่อเล่าเรื่อง คือการนําเหตุการณ์เรื่องราวที่อาจเกิดขึ้นกับบุคคลใดบุคคลหนึ่ง หรือเป็นเรื่องที่ผู้เขียนได้ประสบมา มาถ่ายทอดอย่างเป็นลําดับ ส่วนใหญ่เป็นการเขียนเล่าประวัติ เล่า เหตุการณ์ เล่าประสบการณ์ สิ่งที่ควรคํานึงคือต้องคํานึงถึงความถูกต้องตรงตามความจริง ๒. การเขียนเพื่ออธิบาย คือ การเขียนเพื่อชี้แจง อธิบาย เช่นอธิบายวิธีใช้ อธิบายวิธีทํา อธิบายขั้นตอน เช่น วิธีการออกกําลังกาย วิธีการทําอาหารการเขียนวิธีนี้ต้องระมัดระวังให้เขียน เป็นไปตามขั้นตอน ใช้ภาษากระชับ สั้น เข้าใจง่าย ๓. การเขียนเพื่อแสดงความคิดเห็น เป็นการเขียนเพื่อวิเคราะห์ วิจารณ์ แนะนํา หรือแสดง ความคิดเห็น เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง อาจเป็นการเขียนแสดงความคิดเห็นอย่างเดียวหรืออาจมี ข้อเสนอแนะด้วย ผู้เขียนต้องคํานึงถึงหลักเกณฑ์ ความถูกต้องและความมีเหตุมีผล เช่น การเขียน บทความ การเขียนบทวิจารณ์ การเขียนบทบรรณาธิการในหนังสือพิมพ์เป็นต้น ๔. การเขียนเพื่อสร้างจินตนาการ เป็นการเขียนที่มุ่งให้ผู้อ่านเกิดจินตภาพ มีอารมณ์คล้อย ตามต้องใช้ถ้อยคําภาษา บางครั้งต้องใช้ถ้อยคําที่มีความหมายแฝง มีความหมายเชิงสัญลักษณ์หรือมี ความหมายเชิงเปรียบเทียบงานเขียนประเภทนี้มักพบในการเขียนประเภทบันเทิงคดี ๕.

จุดประสงค์ของการเขียน - ภาษา ประดุจ แก้วสารพัดนึก

การเขียนเพื่อโฆษณา คือการเขียนเพื่อโน้มน้าว จูงใจ หรือเชิญชวนให้ผู้อ่านสนใจสิ่งที่เขียนแนะนำ เช่น การเขียนคำโฆษณา คำขวัญ เป็นต้น วิธีเขียนเพื่อโฆษณาควรเขียนให้สั้น ใช้คำคล้องจอง แปลกใหม่ ซึ่งสามารถแสดงลักษณะของสินค้าที่ต้องการเน้นอย่างชัดเจน เพื่อให้ผู้อ่านจดจำได้ในเวลาอันรวดเร็ว ๕. การเขียนเพื่อสร้างจินตนาการ คือการเขียนเพื่อถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึก จินตนาการ ให้ผู้อ่านเกิดความรู้สึกและเห็นภาพตามผู้เขียน เช่น การเขียนเรื่องสั้น นวนิยาย บทละคร กวีนิพนธ์ เป็นต้น วิธีเขียนเพื่อสร้างจินตนาการ ผู้เขียนต้องเลือกใช้ภาษาอย่างประณีต ละเอียดลออ ลึกซึ้ง ใช้ภาษาที่ทำให้เกิดภาพพจน์ เป็นต้น การเขียนที่ดีนอกจากจะต้องคำนึงถึงความมุ่งหมายของการเขียนแล้ว ยังต้องพิจารณาด้วยว่า ผู้อ่านข้อเขียนนั้นๆเป็นใคร ทั้งนี้เพื่อจะได้ใช้ถ้อยคำ ภาษา สำนวน รวมทั้งการนำเสนอข้อมูลให้เหมาะกับวัย ระดับความรู้ ประสบการณ์ และความสนใจของผู้อ่าน องค์ประกอบของการเขียน ๑. เนื้อหา คือ เนื้อเรื่องหรือเรื่องราวที่ผู้เขียนต้องการจะให้ผู้อ่านได้รับทราบ อาจจะเป็นเรื่องของบุคคล เหตุการณ์ สถานที่ หรืออาจจะเป็นข้อคิดเห็น จินตนาการ อารมณ์ ความรู้สึก ฯลฯ อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างประกอบกันก็ได้ ๒.

การเขียนเพื่อการสื่อสาร – THAI

  • ไอ เอ ล ภาษา อังกฤษ
  • ชุดประจำชาติ - JAPAN
  • Olympus omd em10 mark iii ราคา manual
  • สร้อยทอง แขวน พระ 5 องค์
  • มา ย เมค เน ค
  • Asus zenfone 4 max plus ราคา
  • วัตถุประสงค์ของการเขียน | การเขียนในชีวิตประจำวัน
  • ที่ดิน หลุด จํา น อง ศรีสะเกษ
  • หลวง ตา จันทร์ วัด ป่า ชัย รังสี
  • ตรวจ หวย ฮานอย 13 11 62.fr
  • Fate stay night heaven' s feel ภาค 3.2
  • เพิง หมา แหงน ขาย ของ

การเขียนเพื่อเล่าเรื่อง คือการเขียนเพื่อถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ต่างๆที่ผู้เขียนประสบมาด้วยตนเอง เช่น การเขียนเพื่อถ่ายทอดเรื่องราวชีวิตของตนเองที่เรียกว่า อัตชีวประวัติ การเขียนเพื่อถ่ายทอดเรื่องราวชีวิตของบุคคลอื่นที่เรียกว่า ชีวประวัติ การเขียนข่าว และการเขียนสารคดีต่างๆ เป็นต้น วิธีเขียนเขียนเพื่อเล่าเรื่อง ผู้เขียนต้องเล่าเรื่องตามลำดับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น และให้ข้อมูลถูกต้องตามความเป็นจริง ๒. การเขียนเพื่ออธิบาย คือการเขียนเพื่อบอกวิธีทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น การเขียนอธิบายวิธีประดิษฐ์สิ่งของ เครื่องมือต่างๆวิธีใช้ยา หรือการเขียนเพื่อชี้แจง ไขความ ตอบปัญหาความรู้ หรือความคิดที่เข้าใจยาก เช่น การเขียนอธิบายศัพท์ ข้อธรรมะต่างๆ เป็นต้น วิธีเขียนเพื่ออธิบาย ผู้เขียนต้องลำดับเรื่องราวตามขั้นตอน โดยใช้ภาษาให้รัดกุมและชัดเจน ในการเขียนควรแบ่งเป็นย่อหน้าย่อยๆหรือเป็นข้อๆเพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจและจำได้ง่าย ๓. การเขียนเพื่อแสดงความคิดเห็น คือการเขียนเพื่อแสดงความคิดเห็นของผู้เขียนในเรื่องต่างๆ เช่น ในเรื่องการศึกษา การเมือง เศรษฐกิจ สังคม เป็นต้น วิธีเขียนเพื่อแสดงความคิดเห็น จำเป็นต้องแสดงข้อเท็จจริง ชี้แจงเหตุผล ข้อดีข้อเสียอย่างชัดเจน เพื่อให้ความคิดเห็นของผู้เขียนมีน้ำหนักและน่าเชื่อถือ ๔.

  1. ตัวอักษรภาษาอังกฤษสวยๆ