ตาราง การ ผสม สาร เคมี

  1. การผสมสารป้องกันกำจัดศัตรูพืช – tom.ji42.com
  2. [ควายดำทำเกษตร] สูตรผสมสารเคมีที่ใช้ในการเกษตร

คาร์บาริล ผสมกับ ไดโฟลาแทน 4 เอฟ ทำให้ผลมะเขือเทศอ่อนๆ เป็นจุดๆ ในช่วงฤดูร้อนหรือขาดน้ำ 7. อย่าผสม ไดอะซิโนน กับ มาเนบ หรือ ซีเนบ พ่นบนต้น แอพริคอท 8. โดดิน ผสมกับ ไดโคโฟล ในรูปของผงได้ แต่ โดดิน ไม่สามารถผสมกับ คลอร์โรเบนซิเลตได้ 9. หลังพ่น ซัลเฟอร์ (ผง) 2 อาทิตย์ จึงจะพ่น ไดโคโฟล ได้ 10. ไดโคโฟล ผสมกับแคปแทน ในรูปผงได้ 11. อย่าผสม ไดเมโทเอต กับ ปิโตรเลียมสเปรย์ออยล์ พ่นบนไม้ประดับ 12. เอ็นโดซัลแฟน ผสมกับ โดดิน และแคปแทน ในสูตรผงเท่านั้น 13. มาลาไทออน ผสมกับ แคปแทน และโดดีน ในรูปผงเท่านั้น 14. ควรผสมมาลาไทออน กับ ไอโพรไดโอน ในเครื่องพ่นที่มีระบบกวน และรีบพ่นทันที 15. เบโนมิล ผสมกับ มาเนบ แมนโคเซบ แต่ไม่จำเป็นต้องผสมกับ เมไทแรม 16. อย่าผสม แบนเลท และ แคปแทน พ่นส้มภายใน 3 อาทิตย์ที่พ่นน้ำมันไปแล้ว 17. ต้องผสมสารจับใบ ตามที่ระบุฉลาก 18. ผสมกันแต่ต้องใช้ภายใน 6 ชั่วโมง 19. ผสมกันได้แต่ต้องรีบใช้ทันที 20. อย่าผสมสารที่มีส่วนประกอบของทองแดง กับ ไซแรม 21. อย่าผสม ไอโพรไดโอน (ร๊อฟรัล สูตรน้ำ) กับ คอปเปอร์ออกซี่คลอไรด์ พ่นบนมันฝรั่ง 22. Growth regulators สารประกอบของ แนฟทาลีนแอซิทิก, แนฟทาลีนแอซิทามีน และ Phenoxy ส่วนใหญ่สามารถเข้ากับสารฆ่าแมลงและสารป้องกันโรคพืชได้ ยกเว้นสารที่มีฤทธิ์เป็นด่างมาก หากจำเป็นต้องแยกพ่นทีละชนิด หรือใช้ตามคำแนะนำของบริษัทผู้ผลิต 23.

การผสมสารป้องกันกำจัดศัตรูพืช – tom.ji42.com

(02) 579-8540 หรือ คุณสุเทพ สหายา โทร. (086) 769-6682

หลักการผสมยาฆ่าแมลงกะยาฆ่าเชื้อราเข้าด้วยกันมีหลักง่ายๆดังนี้ครับ 1. สารเคมีกำจัดแมลงและสารเคมีกำจัดโรคพืชที่อยู่ที่รูปของWp สามารถผสมกันได้ 2. สารกำจัดโรคพืชที่อยู่ที่รูปของน้ำมัน เช่น เทอราคลอ สกอร์ อมิตตา แรลลี่ อิทริไดอโซล เป็นต้น ไม่ควรผสมกับยาชนิดอื่น 3. สารเคมีกำจัดแมลงที่อยู่ในรูปของน้ำมันสารมารถผสมกับสารเคมีกำจัดโรคพืชที่อยู่ในรูปของWpหรือผงแป้งได้ 4. สารเคมีกำจัดแมลงที่อยู่รูปของน้ำมันสามารถผสมเข้ากันได้ 5. สารเคมีบางตัวไม่สามารถผสมกับสารเคมีที่เป็น กำมะถันหรือโลหะ ได้ 6. ห้ามนำสารเคมีที่มีสภาพเป็นด่างกะกรดมาผสมกันเพราะสารเคมีจะทำปฏิกิริยากันทำให้เกิดตะกอนและประสิทธิภาพของสารเคมีจะลดลง ผังการผสมสารป้องกันกำจัดศัตรูพืช 1. เมทามิโดฟอส ผสมกับ ไซฟลูทริน และ ไตรฟลูมูรอน ได้ 2. เมทามิโดฟอส ไม่จำเป็นต้องผสมกับ ไดเมโทเอต 3. อามีทราซ ผสมกับ มาเนบ แมนโคเซบ ซีเนบ ได้แต่ ผสมกับ เฟอร์แบม ไม่ได้ 4. คาร์บาริล ผสมกับ ไดเมโทเอต อาจเกิดอันตรายกับถั่วเหลือง และมะเขือเทศ คาร์บาริล ผสมกับ ไดเมโทเอต หรือ มาลาไทออนอาจเป็นอันตรายต่อฝ้ายได้ 5. คาร์บาริล ผสมกับ ปิโตรเลียมสเปรย์ออยล์ อาจเกิดอันตรายต่อ แอปเปิลได้ 6.

ข้อควรรู้ก่อนผสมสารป้องกั นกำจัดศัตรูพืชหลายชนิดในการพ่นสารคราวเ ดี ยวกัน โดย หมอแมง ปัจจุบันเป็นที่ทราบกันดีว่าเกษตรกรไทยส่วนใหญ่ นิยมผสมสารหลายๆ ชนิดในการพ่นสารป้องกันกำจัดศัตรูพืช บางครั้งอาจจะผสมปุ๋ยทางใบ ฮอร์โมน รวมไปด้วย การผสมสารหลายชนิดแบบนี้อาจเรียกว่า แท้งมิกซ์(Tank mixes) หรือค็อกเทล (cocktail) สมมติเกษตรกรผสมสารป้องกันกำจัดแมลง 1 ชนิด สารป้องกันกำจัดเชื้อราโรคพืช 1 ชนิด ปุ๋ยทางใบ ฮอร์โมนพืช และสารจับใบ (สารเปียกใบ)แค่นี้ก็เป็นการผสมสารเคมีเข้าด้วยกันถึง 5 ชนิดแล้ว การผสมสารแบบนี้จริงๆ มีข้อดีเช่นเดียวกัน ข้อดีที่ว่ามีดังนี้ 1. ลดต้นทุนค่าแรง ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง 2. ลดระยะเวลาที่ใช้ในการพ่นสาร 3. ลดความสูญเสียของผลผลิตได้ทันเหตุการณ์ กรณีมีศัตรูพืชระบาดพร้อมกัน (additive effect หรือ broad spectrum) 4. ปฏิบัติง่าย สะดวกและไม่ยุ่งยากซับซ้อน 5.

Antibiotic ให้ผลดีที่สุเมื่อไม่ผสมกับสารชนิดอื่นๆ Streptomycin, Agri-strep และ Agrimycin สามารถผสมได้กับ ไดเมโทเอต แคปแทน, เฟอร์แบม, พาราไทออน, ซัลเฟอร์ (ผง), มาเนบ และ ซีเนบ แต่ห้ามผสมกับ บอร์โดมิกเจอร์ หรือสารที่มีฤทธิ์เป็นด่างมาก 24. Nuclear Polyhedrosis Virus สามารถผสมกับสารฆ่าแมลงได้ทุกชนิด โดยเฉพาะสารที่มีประสิทธิภาพในการทำลายไข่ เช่น คลอร์ไดมีฟอร์ม และ เมโทมิล เป็นต้น 25. Bacillus thuringiensis โดยส่วนใหญ่สามารถเข้ากับสารฆ่าแมลงและสารป้องกันโรคพืชได้ ผสมแล้วพ่นทันที ยกเว้นสารเหล่านี้คือ อามีทราซ, อะซินฟอสเมทิล, แคพทาโฟล, ไดเมโทเอต, ไดโนแคป, ไอโซโปรคาร์บ, เฟนโทเอต, โฟซาโลน และ บอร์โดมิกเจอร์ 26. สารป้องกันกำจัดศัตรูพืชในผังข้างบนนี้ เป็นชื่อสามัญทั้งหมด ข้อควรระวัง 1. การผสมสารป้องกันกำจัดศัตรูพืชต่างๆ อาจแตกต่างจากผังการผสมสารข้างบนนี้เนื่องจากสูตรของสารฯ เหล่านั้น ดังนั้นต้องปฎิบัติตามคำแนะนำของบริษัทผู้ผลิตอย่างเคร่งครัด 2. ผังนี้ไม่ใช่เป็นการแนะนำให้ใช้ แต่เป็นเอกสารที่รวบรวมจาก แหล่งข้อมูลต่างๆ การผสมสารบางอย่างอาจจะเกิดอันตรายต่อ มนุษย์ สัตว์ และพืชได้ 3. เมทามิโดฟอส และ เอนโดซัลแฟน ได้ถูกกำหนดให้เป็น วัตถุอันตรายชนิดที่ 4 แล้ว คือ จัดเป็นวัตถุอันตรายที่ห้ามประกอบกิจการ ห้ามมิให้มีการผลิต ห้ามนำเข้าหรือส่งออกและห้ามมีไว้ในครอบครอง ตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.

ให้ใช้ถังพลาสติกขนาดเล็กใส่น้ำประมาณ 5 ลิตร 2. จากนั้นคำนวณสารที่ต้องใช้ต่อน้ำ 200 ลิตร เช่น สาร ก อัตราข้างฉลากแนะนำที่ 40 ซีซี(มิลลิลิตร)ต่อน้ำ 20 ลิตร จะต้องใช้ สาร ก เท่ากับ 400 ซีซี ส่วนสาร ข อัตรา 30 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร จะต้องใช้สาร ข เท่ากับ 300 กรัม 3. ให้ใส่สาร ข ที่มีสูตรผงหรือดับเบิลยูพี(WP) ก่อน โดยเทสาร ข 300 กรัมใส่ถังแล้วกวนให้เข้ากับน้ำ 5 ลิตรที่เตรียมไว้ หลังจากนั้นเติมสาร ก 400 ซีซีที่เป็นสูตรของเหลว (SL หรือ SC หรือ EC) กวนอีกครั้ง จากนั้นเติมสารจับใบ แล้วกวนอีกครั้ง (กรณีผสมสูตร SL หรือ SC กับ EC ให้ผสมสูตร EC หลังสุดเสมอ) 4.

[ควายดำทำเกษตร] สูตรผสมสารเคมีที่ใช้ในการเกษตร

  1. Hp envy x360 ryzen 7 ราคาถูก ซื้อออนไลน์ที่ Lazada.co.th
  2. โอซาก้า - ทาคายาม่า ไปยังไงคะ - Pantip
  3. เสื้อ tommy hilfiger แท้ ราคา
  4. ตาราง การ ผสม สาร เคมี ล่าสุด
  5. Weathering with you ดู หนัง ฟรี korean drama
  6. แบบฝึกหัดบทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกายวิภาคและสรีรวิทยา | Anatomy
  7. แนะใช้สารเคมี ให้ถูกวิธี นอกจากจะปลอดภัย ยังประหยัดได้มาก - เทคโนโลยีชาวบ้าน
  8. ตาราง การ ผสม สาร เคมี ม
  9. อํา เภ อ ฝาง จังหวัด เชียงใหม่
  10. ทำไมหลังกินข้างเที่ยงแล้วต้องง่วงนอน? (คืออะไร หมายถึง ความหมาย) - ถามตอบที่ Sanook! Guru

ผู้เขียน นวลศรี โชตินันทน์ เผยแพร่ วันอังคารที่ 21 พฤศจิกายน พ. ศ.

จากกลุ่มรูปแบบผสมสารที่ได้เขียนย่อมาให้อ่าน จะเห็นว่าส่วนใหญ่ในบ้านเราที่ขาย ที่เกษตรกรใช้กันจะเป็นกลุ่มที่ 1 จริงๆแนะนำให้จำไว้เพราะมันจะช่วยทำให้เราเลือกใช้สารให้ตรงกับความต้องการของเราได้ และยังช่วยทำให้เข้าใจลักษณะรูปแบบสารแต่ละประเภท

ศ. 2535

การเข้ากันไม่ได้ตามช่วงเวลา (timing incompatibility)ในบางครั้งการผสมสารกำจัดแมลงผสมกับสารกำจัดเชื้อรา อาจเป็นการสิ้นเปลืองโดยใช่เหตุ ถ้าศัตรูพืชระบาดไม่พร้อมกัน เช่น มีแมลงระบาดแต่โรคไม่ระบาด หรือเชื้อราระบาดแต่แมลงไม่ระบาด หรือกรณีพ่นสาร บูโพรเฟซิน(buprofezin)+คลอร์ไพรีฟอส(chlorpyrifos) พ่นกำจัดหนอนกอข้าวในนาข้าว เนื่องจากบูโพรเฟซินเป็นสารที่เลือกทำลายเฉพาะแมลงปากดูดในอันดับโฮม็อพเทอร่า เช่น เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล เพลี้ยจักจั่นสีเขียวเท่านั้น ถ้าไม่มีเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลระบาด จะเป็นการสิ้นเปลืองและไม่ได้ประโยชน์ 5.