หมอ ต่อ ม ไร้ ท่อ

  1. ศิริราช pantip
  2. พญาไท 2

2 Glucose homeostasis in adolescents with polycystic ovary syndrome 3. 3 Endocrine late effects of childhood cancer survivors เช่น gonadal function, glucose homeostasis, etc. 3. 4 Pituitary function in traumatic brain injury เช่น head trauma, childhood kickboxers 3. 5 Endocrine and bone diseases in thalassemia ผลงานที่ได้รับรางวัลหรือเป็นที่ภาคภูมิใจ GlaxoSmithKline Endocrine Research Award จากสมาคมต่อมไร้ท่อแห่งประเทศไทย (Thai Endocrine Society) ซึ่งเป็นการคัดเลือกผลงานวิจัยยอดเยี่ยมของคนไทยในสาขาต่อมไร้ท่อที่ได้รับการตีพิมพ์ประจำปี ปีละ 1 รางวัล 1. ปี พ. ศ. 2547 เรื่อง Bone histomorphometry in children and adolescents with beta-thalassemia disease: iron-associated focal osteomalacia. J Clin Endocrinol Metab 2003;88:3966-72. (Impact factor 5. 8) แก่ ศาสตราจารย์นายแพทย์พัฒน์ มหาโชคเลิศวัฒนา 2. 2552 เรื่อง Serum free cortisol index, free cortisol and total cortisol in critically ill children. Intensive Care Med 2009;35:1281-5. 1) แก่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์แพทย์หญิงเปรมฤดี ภูมิถาวร สาขาวิชาต่อมไร้ท่อและเมตาบอลิสม สำนักงานแพทย์ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ อาคาร 1 ชั้น 8 คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ถนนพระราม 6 กทม.

ศิริราช pantip

1) ต่อมพาราไทรอยด์ ( parathyroid) 1. 2) ต่อมหมวกไตชั้นนอก ( adrenal cortex) 1. 3) ต่อมตับอ่อน ( islets of Langerhan s) 2. Non – Essential endocrine gland เป็นต่อมที่มีความจำเป็นหรือจำเป็นน้อยมากต่อร่างกาย ถ้าผิดปกติอาจทำให้เกิดความผิดปกติ ของร่างกายหรือของระบบต่างๆ ได้แก่ ต่อมดังต่อไปนี้ 2. 1) ต่อมใต้สมอง ( pituitary) 2. 2) ต่อมไทรอยด์ ( thyroid) 2. 3) ต่อมหมวกไตชั้นใน ( adrenal medulla) 2. 4) ต่อมไพเนียล ( pineal) 2. 5) ต่อมไทมัส ( thymus) 2. 6) ต่อมเพศ ( gonads) 1. ต่อมใต้สมอง ผลิตฮอร์โมนที่สำคัญ เช่น 1) Growth Hormone เป็นฮอร์โมนควบคุมการเจริญเติบโตของ ร่างกาย โดยเฉพาะ กระดูกและกล้ามเนื้อ 2) Thyroid Stimulating Hormone เป็นฮอร์โมนกระตุ้นต่อมไทรอยด์ให้สร้าง ไทร็อกซินเพิ่มขึ้น 3) Gonadotrophic Hormone เป็นฮอร์โมนกระตุ้นการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ 4) Antidiuretic Hormone เป็นฮอร์โมนช่วยในการดูดน้ำกลับของท่อไต เพื่อรักษา ระดับน้ำของร่างกาย 5) Melatonin เป็นฮอร์โมนกระตุ้นให้เซลล์เม็ดสีสร้างเม็ดสีเพิ่มมากขึ้น 2. ต่อมไพเนียล ฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมนี้ คือ เมลาโทนิน ยับยั้ง การเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธุ์ ทำให้เป็นหนุ่ม เป็นสาวช้าลง ถ้าต่อมไพนิลไม่สามารถสร้างเมลาโทนินได้ จะทำให้เป็นหนุ่มเร็วกว่าปกติ แต่ถ้าสร้างมากเกินไปจะทำให้เป็นหนุ่มเป็นสาวช้ากว่าปกติ ต่อมไพเนียลทำหน้าที่เหมือนตัวกลางที่จะรับรู้ความยาวของกลางวันและ กลางคืนและส่งสัญญาณในรูปของฮอร์โมนเมลาโทนินไปยังระบบต่างๆ เมื่อ แสงสว่างผ่านเลนส์แก้วตาไปตกกระทบกับจอรับภาพบริเวณส่วนหลังสุดของ ลูกตาที่เรตินา(retina) 3.

พญาไท 2

  • สร้อย ข้อ มือ van cleef
  • ศูนย์เบาหวานและต่อมไร้ท่อ
  • ศูนย์ต่อมไร้ท่อ เบาหวานและโภชนบำบัด ตรวจและรักษา | โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์
  • กาแฟ ซอง อัน ไหน อร่อย
  • โรง บาล บาง ปะ กอก 1.3
  • อาจารย์สาขาวิชาโรคต่อมไร้ท่อและเมแทบอลิซึม | คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
  • แบบฝึกหัดบทที่ 11 ระบบต่อมไร้ท่อ | Anatomy
  • หมอ ต่อ ม ไร้ ท่อ เก่ง ๆ
  • อาหารสุนัข MAXIMA ทิฟฟานี (Tiffany)
  • สาขาวิชาอายุรศาสตร์โรคต่อมไร้ท่อและเมแทบอลิซึม (Endocrinology and Metabolism) | คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
  • แบบทดสอบชุดที่1 - Endocrine Gland
  • สมัคร งาน เจ โม สุขาภิบาล 2