ร้าน ค้า ที่ จดทะเบียน พาณิชย์

การจดทะเบียนพาณิชย์ ตาม พระราชบัญญัติทะเบียนพาณิชย์ พ. ศ. 2499 1. ผู้มีหน้าที่จดทะเบียนพาณิชย์ 1. 1 บุคคลธรรมดาคนเดียว (กิจการเจ้าของคนเดียว) 1. 2 ห้างหุ้นส่วนสามัญ 1. 3 นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศที่มาตั้งสำนักงานสาขาในประเทศไทย 1. 4 ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล ห้างหุ้นส่วนจำกัด 1. 5 บริษัทจำกัด บริษัทมหาชนจำกัด โดยบุคคลตาม 1. 1-1. 5 ต้องประกอบกิจการค้าซึ่งเป็นพาณิชยกิจตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์กำหนดตาม 2 2. กิจการค้าที่เป็นพาณิชยกิจที่ต้องจดทะเบียนพาณิชย์ 2. 1 บุคคลธรรมดา (กิจการเจ้าของคนเดียว) ห้างหุ้นส่วนสามัญ และนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศที่มาตั้งสำนักงานสาขาในประเทศไทย ตาม 1.

ทะเบียนพาณิชย์(ร้านค้า/บุคคลธรรมดา)

โช๊ ค วิบาก มือ สอง
  1. หลวงพ่อทวด100ปี ราคาถูก ซื้อออนไลน์ที่ Lazada.co.th
  2. รับจดทะเบียนการค้า ราคาถูก ทั้งบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล
  3. '94 เมตร' บำรุงรักษากังหันลม ภารกิจที่ไม่ธรรมดา ของมนุษย์ธรรมดา
  4. เติมเพชรฟีฟาย เติมเกมฟีฟาย เติมฟีฟาย เติมเงินฟีฟาย ซื้อเพชรฟีฟาย - ฟีฟาย
  5. สาย ไฟ 10 sq mm ราคา
  6. ผ้า รอง กัน เปื้อน lotus
  7. Fast and furious 7 เพลง eng
  8. หมู่บ้าน โฮม แลนด์ นา ป่า
  9. รองเท้า บูท สี ขาว มือ สอง

รับจดทะเบียนการค้า ราคาถูก ทั้งบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล

2542 หรือไม่ หากเป็นกิจการค้าที่ต้องได้รับอนุญาต ผู้ประกอบพาณิชยกิจจะต้องได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการค้าก่อนยื่นจดทะเบียนพาณิชย์*** 3. พาณิชยกิจที่ได้รับการยกเว้นไม่ต้องจดทะเบียนพาณิชย์ ได้แก่ 3. 1 การค้าเร่ การค้าแผงลอย 3. 2 พาณิชยกิจเพื่อการบำรุงศาสนาหรือเพื่อการกุศล 3. 3 พาณิชยกิจของนิติบุคคลซึ่งได้มีพระราชบัญญัติ หรือพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งขึ้น 3. 4 พาณิชยกิจของกระทรวง ทบวง กรม 3. 5 พาณิชยกิจของมูลนิธิ สมาคม สหกรณ์ 3. 6 พาณิชยกิจของกลุ่มเกษตรกรที่ได้จดทะเบียนตาม ปว. 141 ลงวันที่ 1 พฤษภาคม 2515 5. สถานที่จดทะเบียน 5. 1 ในเขตกรุงเทพมหานคร ยื่นจดทะเบียนพาณิชย์ได้ที่: (1) สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง สำนักการคลัง กรุงเทพมหานคร รับจดทะเบียนพาณิชยกิจของผู้ประกอบพาณิชยกิจ ที่มีสำนักงานแห่งใหญ่ตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร (2) ฝ่ายปกครอง สำนักงานเขตทุกแห่ง รับจดทะเบียนพาณิชยกิจของผู้ประกอบพาณิชยกิจ ที่มีสำนักงานแห่งใหญ่ตั้งอยู่ในท้องที่ของเขตนั้น สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง สำนักการคลัง โทร. 0-2224-1916, 0-2225-1945 หรือที่ ฝ่ายปกครอง สำนักงานเขตทุกแห่ง และที่เว็บไซต์ 5. 2 ในภูมิภาค ยื่นจดทะเบียนได้ที่: เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล หรือเมืองพัทยา รับจดทะเบียนพาณิชย์ของผู้ประกอบพาณิชยกิจที่มีสำนักงานแห่งใหญ่ตั้งอยู่ในท้องที่เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล หรือเมืองพัทยาแล้วแต่กรณี สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่: ส่วนบริหารการจดทะเบียน สำนักข้อมูลธุรกิจ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า โทร.

จดทะเบียนการค้า จดทะเบียนพาณิชย์ มีกี่แบบ? การจดทะเบียนการค้า หรือ จดทะเบียนพาณิชย์ มี 2 แบบ คือ จดทะเบียนพาณิชย์ จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ทำไมต้องจดทะเบียนการค้า จดทะเบียนพาณิชย์? ✓ สามารถใช้เป็นเอกสารประกอบขอสินเชื่อ ✓ เพิ่มความน่าเชื่อถือ ทำให้ลูกค้ามั่นใจในการรับสินค้าหรือบริการ ✓ เป็นหลักฐานการค้า ✓ เป็นฐานข้อมูลสถิติของประเทศ ใครต้องจดทะเบียนการค้า จดทะเบียนพาณิชย์? ผู้ที่ทำธุรกิจขายสินค้า ไม่ว่าจะทำในนามบุคคลธรรมดา ห้างหุ้นส่วนสามัญ ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล หรือบริษัท จะต้องจดทะเบียนการค้าหรือจดทะเบียนพาณิชย์ แต่ถ้าเป็นธุรกิจประเภทบริการอย่างเดียว ซึ่งไม่มีการขายสินค้าเกี่ยวข้อง ไม่ต้องจดทะเบียนร้านค้าหรือจดทะเบียนพาณิชย์ ตรวจสอบประเภทธุรกิจที่ต้องจดทะเบียนพาณิชย์เพิ่มเติมได้ที่นี่ โดยจะต้องจดทะเบียนการค้าหรือจดทะเบียนพาณิชย์ ภายใน 30 วัน นับจากวันเริ่มประกอบกิจการ เอกสารที่ต้องใช้ในการจดทะเบียนการค้า จดทะเบียนพาณิชย์ คำขอจดทะเบียนพาณิชย์ (แบบ ทพ. ) สำเนาบัตรประจำตัว หรือ หนังสือรับรองบริษัทหรือห้างหุ้นส่วน สำเนาทะเบียนบ้านของสถานที่ตั้งสำนักงานแห่งใหญ่ กรณีไม่ได้เป็นเจ้าบ้าน ต้องมี (1) หนังสือให้ความยินยอมใช้สถานที่ตั้งสำนักงานแห่งใหญ่ หรือ (2) สำเนาสัญญาเช่า สำเนาบัตรประจำตัวผู้ขอจดทะเบียน และหนังสือมอบอำนาจ (กรณีมอบอำนาจให้จดทะเบียนให้) การจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ธุรกิจอะไรต้องจดทะเบียนพาณิชน์อิเล็กทรอนิกส์?

จดทะเบียนการค้า จดทะเบียนพาณิชย์ จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ยังไง

คลิกเพื่อดาวน์โหลด เอกสารประกอบการจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (เอกสารแนบแบบ ทพ. ) คลิกเพื่อดาวน์โหลด

รถ มือ สอง ดอน หัว ฬ่ อ

5 ต้องอำนวยความสะดวกแก่นายทะเบียนและพนักงานเจ้าหน้าที่ ซึ่งเข้าทำการตรวจสอบในสำนักงานของผู้ประกอบกิจการ 8. บทกำหนดโทษ 8. 1 ประกอบพาณิชยกิจโดยไม่จดทะเบียน แสดงรายการเท็จ ไม่ยอมให้ถ้อยคำ ไม่ยอมให้พนักงานเจ้าหน้าที่เข้า ไปตรวจสอบในสำนักงาน มีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 2, 000 บาท กรณีไม่จดทะเบียนอันเป็นความผิด ต่อเนื่อง ปรับอีกวันละไม่เกิน 100 บาท จนกว่าจะได้ปฏิบัติให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติ 8. 2 ถ้าใบทะเบียนพาณิชย์สูญหายไม่ยื่นคำร้องขอใบรับแทน หรือไม่แสดงใบทะเบียนพาณิชย์ไว้ที่สำนักงาน ที่เห็นได้ง่าย ไม่จัดทำป้ายชื่อ มีความผิดปรับไม่เกิน 200 บาท และถ้าเป็นความผิดต่อเนื่อง ปรับอีกวันละไม่เกิน 20 บาท จนกว่าจะได้ปฏิบัติให้ถูกต้อง 8. 3 ผู้ประกอบพาณิชยกิจซึ่งกระทำการฉ้อโกงประชาชน ปนสินค้าโดยเจตนาทุจริต ปลอมสินค้า หรือกระทำการทุจริตอื่นใดอย่างร้ายแรงในการประกอบกิจการจะถูกถอนใบทะเบียนพาณิชย์ เมื่อถูกสั่งถอนใบทะเบียน พาณิชย์แล้วจะประกอบกิจการต่อไปไม่ได้ เว้นแต่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์จะสั่งให้รับจดทะเบียนพาณิชย์ใหม่ 8. 4 ผู้ประกอบพาณิชยกิจที่ถูกสั่งถอนใบทะเบียนพาณิชย์แล้ว ยังฝ่าฝืนประกอบพาณิชยกิจต่อไป มีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือจำคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือทั้งปรับทั้งจำ 9.

0-2547-4446-7 และสำนักงานพัฒนาธุรกิจการค้าจังหวัดทุกจังหวัด 6. กำหนดระยะเวลาการจดทะเบียนพาณิชย์ 6. 1 จดทะเบียนพาณิชย์ตั้งใหม่ ต้องจดทะเบียนภายใน 30 วันนับแต่วันเริ่มประกอบพาณิชยกิจ 6. 2 การเปลี่ยนแปลงรายการที่จดทะเบียนไว้ตาม (1) ต้องจดทะเบียนภายใน 30 วันนับแต่วันที่มีการเปลี่ยนแปลง 6. 3 เลิกประกอบพาณิชยกิจ ต้องจดทะเบียนภายใน 30 วันนับแต่วันที่เลิกประกอบพาณิชยกิจ 6. 4 ใบทะเบียนพาณิชย์สูญหายต้องยื่นขอใบแทนภายใน 30 วันนับแต่วันสูญหาย 7. หน้าที่ของผู้ประกอบพาณิชยกิจ 7. 1 ต้องขอจดทะเบียนต่อนายทะเบียนภายในระยะเวลาที่กำหนดตามแต่กรณี 7. 2 ต้องแสดงใบทะเบียนพาณิชย์หรือใบแทนใบทะเบียนพาณิชย์ไว้ ณ สำนักงานในที่เปิดเผยและเห็นได้ง่าย 7. 3 ต้องจัดให้มีป้ายชื่อที่ใช้ในการประกอบพาณิชยกิจไว้หน้าสำนักงานแห่งใหญ่และสำนักงานสาขาโดย เปิดเผยภายในเวลา 30 วันนับแต่วันที่จดทะเบียนพาณิชย์ ป้ายชื่อให้เขียนเป็นอักษรไทย อ่านง่ายและชัดเจน จะมีอักษร ต่างประเทศในป้ายชื่อด้วยก็ได้ และจะต้องตรงกับชื่อที่จดทะเบียนไว้ หากเป็นสำนักงานสาขาจะต้องมีคำว่า "สาขา" ไว้ด้วย 7. 4 ต้องไปให้ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับรายการจดทะเบียนตามคำสั่งของนายทะเบียน 7.