การ เขียน รายงาน การ ปฏิบัติ งาน ประ จํา วัน

เนื้อหาสว่ นทา้ ย บทสรุปและข้อเสนอแนะทผี่ ูจ้ ัดทาํ รายงานมงุ่ เน้นให้ผมู้ ี อํานาจสั่งการและเกี่ยวขอ้ งได้พจิ ารณาเปน็ พิเศษ ส่วนประกอบของรายงาน 3. สว่ นท้าย 1. บรรณานุกรม เปน็ รายช่ือเอกสาร หนังสอื ต่าง ๆ ทใี่ ช้ประกอบหรอื อ้างอิงในการจัดทาํ รายงาน 2. ภาคผนวก เปน็ ข้อมูลต่าง ๆ ทเี่ พมิ่ เติมนอกเหนือจากสาระสาํ คัญ ของรายงาน 3. ดรรชนี คือ บญั ชคี ําต่าง ๆ ทปี่ รากฏในรายงาน ระบุวา่ คําใดอยู่ หน้าใดบ้าง เพื่ออํานวยความสะดวกแก่ผู้อ่านในการ ค้นหาคําสาํ คัญ ๆ ในรายงานนั้น สรุปทา้ ยบท การเขียนรายงานถือเป็นส่วนสําคัญส่วนหน่ึงใน ก า ร ทํ า ง า น ข อ ง ทุ ก อ ง ค์ ก ร ผู้ เ ขี ย น ร า ย ง า น จําเป็นต้องมีทักษะทางการสื่อความ จากนั้นกําหนด รูปแบบที่เหมาะสมกับลักษณะของรายงาน แล้วจึง ลงมือเขียนโดยเลือกใช้ภาษาที่ส่ือความอย่างตรง ประเด็นและชัดเจน การเขียนรายงานท่ีดี ย่อมจะ ชว่ ยแสดงผลของการปฏิบัติงานให้เปน็ ทปี่ ระจักษ์ได้

การเขียนรายงานการปฏิบัติงาน

  • ใบเสนอราคาโครงการ ในพจนานุกรม อังกฤษ - ไทย-อังกฤษ | Glosbe
  • บทที่ 5 การเขียนรายงานเพื่อการปฏิบัติงานเชิงวิชาชีพ - ดาวน์โหลดหนังสือ | 1-14 หน้า | PubHTML5
  • การเขียนรายงานการปฏิบัติงาน
  • ผล การ เรียน ged คือ

กะลา หลวง พ่อ จืด วัด โพธิ์ เศรษฐี

แนวคิด การเขียนเป็นกระบวนการส่งสารที่มีความสำคัญในชีวิตประจำวันและในงานอาชีพ การเขียนรายงานการปฏิบัติงาน เป็นการส่งสารที่มุ่งให้เกิดความเข้าใจตรงกัน เพื่อแสดงข้อเท็จจริงที่ได้ปฏิบัติมาแล้ว อันจะทำให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวันและงานอาชีพ เมื่อเรียนจบในเนื้อหานี้แล้วมีความรู้ความสามารถดังนี้ ๑. อธิบายหลักการเขียนรายงานการปฏิบัติงานได้ ๒. สามารถเขียนรายงานการปฏิบัติงานได้

ดู หนัง ทิ ง เกอร์ เบ ล ล์ ภาค 3

3 รายงานการประชุม รูปแบบรายงานการประชุม รายงาน 3. 4 รายงานทางวิชาการ รายงาน หมายถึง การนําเสนอผลการศึกษาค้นคว้า ซ่ึง ร ว บ ร ว ม แ ล ะ ร้อ ย เรีย ง ข้ อ มู ล อ ย่ า ง มี แบ บ แ ผ น เกี่ยวกับวิชาความรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่ง ซ่ึงช่วยให้ ผู้รับรายงานทราบผลของการศึกษา ค้นคว้า ข้อมูลอย่างเป็นระบบขั้นตอนของผู้จัดทํารายงาน สามารถนํามาใช้ในการอ้างอิงได้ อีกทั้งยังแสดง ถึงความรูค้ วามสามารถของผู้จัดทํารายงาน อัน จะนําไปสูก่ ารประเมินผลการปฏิบตั ิงานได้ สว่ นประกอบของรายงาน 1. สว่ นต้น 1. ปกนอก เปน็ หน้าบอกรายละเอียดเก่ียวกับชื่อรายงาน ชื่อผ้จู ัดทาํ รายงาน ชือ่ หน่วยงาน 2. ปกใน เปน็ หน้าซง่ึ มีรายละเอียดเชน่ เดียวกับปกนอกแต่ เปน็ กระดาษปอนด์ 3. คํานํา หน้าคํานําจะกล่าวถึงจดุ ประสงค์ ขอบเขต และ อาจกล่าวถึงวิธดี ําเนินการรวบรวมข้อมูลด้วยก็ได้ 4. สารบัญ เปน็ หน้าบอกรายการ หัวขอ้ เรอ่ื งตามลําดับที่ ปรากฏในรายงาน พรอ้ มทง้ั ระบุลําดับหน้าไว้ ส่วนประกอบของรายงาน 2. ส่วนกลาง 1. เน้ือหาส่วนต้น มักกล่าวเกรนิ่ ถึงความเปน็ มาของปัญหา สภาพการณ์ ทวั่ ๆ ไปทป่ี รากฏในด้านต่าง ๆ 2. เน้ือหาส่วนกลาง สาระสาํ คัญของรายงาน ในสว่ นน้ีควรมีการอ้างอิง ขอ้ มูลหลักฐานทไี่ ด้จากการค้นควา้ และสํารวจ 3.

รูปแบบของการเขียนรายงานการปฏิบัติงาน - การเขียนรายงานการปฏิบัติงาน

ขน้ั สว่ นนํา 2. ขั้นเน้ือหา 3. ข้ันสรุปผล 4. ข้ันการให้ขอ้ เสนอแนะ 3. 2 รายงานผลการปฏิบัติงาน รายงาน รายงานผลการปฏิบัติงานเป็นงานเขียนที่ไม่กําหนด รูปแบบ แต่อย่างไรก็ตาม ต้องเขียนให้มีรูปแบบสวยงาม คือ 1. รูปแบบการเขียนรายงานผลการปฏิบัติงาน ควร ลําดับความสําคัญ เร่ิมท่ีรูปแบบตามที่หน่วยงานน้ัน ๆ กําหนด, เขียนในรูปของจดหมายหรอื บันทกึ ติดต่อ และเขียน ในรูปของรายงานขนาดส้ัน 2. วิธเี ขียนรายงานผลการปฏิบัติงาน ไพรถ เลิศพิรยิ ก มล (2543: 128) ได้เสนอแนวทางการเขียนไว้ 2 ลักษณะ คือ เขียนอย่างละเอียดทุกขั้นตอนของการปฏิบัติงาน และ เขียนแบบสรุปความ 3. 3 รายงานการประชุม รายงาน ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ ชุ ม จั ด เป็ น ห นั ง สื อ ร า ช ก า ร ประเภทหนึ่ง เลขานุการในแต่ละหน่วยงานเป็นผู้มี หน้าท่ีในการจดการประชุม และนําเสนอในรูปแบบ รายงานการประชุม พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ. ศ. 2554 (2554: 999) ให้ความหมายของ การประชุม ไว้ว่า น. รายละเอียด หรอื สาระของการประชุมท่ีจดไว้ เปน็ ทางการ 3. 3 รายงานการประชุม รายงาน ใน ก า ร ป ร ะ ชุ ม ผู้ เข้ า ร่ ว ม ป ร ะ ชุ ม จํ า เป็ น ต้ อ ง เข้าใจคําศัพทเ์ ฉพาะทใ่ี ช้ในการประชมุ เพ่ือช่วยให้ สามารถสอ่ื สารได้เข้าใจและตรงประเด็น ดังน้ี - การประชุมสมัยสามัญ - การประชมุ สมัยวสิ ามัญ - องค์ประชุม - ครบองค์ประชมุ - ญตั ติ - ระเบียบวาระการประชมุ - จดหมายเชญิ ประชุม 3.

ขาย asus zenfone zoom s website

บทท่ี การเขียนรายงานเพ่ือ 5 การปฏิบัติงานเชิงวชิ าชพี สาระการเรยี นรู้ 1. ความหมายของการเขียนรายงาน 2. ความสําคัญของรายงาน 3. ประเภทของรายงาน 1. ความหมายของการเขยี นรายงาน "การเขยี นรายงาน" หมายถึ ง ก าร เขี ยนข้ อมูล ข่ าวส าร เรื่องราวท่ีผ่านการรวบรวมผลวิเคราะห์ ประเมินผล เพื่อนํามาเสนอเป็นข้อมูลท่ี น่าเชื่อถือ ผ่านรูปแบบการเขียนท่ีมีระบบ ระเบยี บวิธีทางการเขียนรายงาน 2. ความสาํ คัญของรายงาน "การเขียนรายงาน" รายงานเป็นเคร่ืองมือสําคั ญที่ทําให้องค์ กร หน่วยงานเกิดความรู้ความเข้าใจร่วมกัน เป็นการ ส ร้า ง อ ง ค์ ค ว า ม รู ้ใ ห ม่ ที่ ส่ ง ผ ล ใ ห้ เ กิ ด ก า ร ป รับ ป รุ ง เปลี่ยนแปลง สรา้ งสรรค์ และพฒั นาการปฏิบัติงานให้ มีประสทิ ธภิ าพ ทนั เหตกุ ารณ์ นอกจากน้ีผลการรายงานยังสามารถใช้เป็ น หลักฐานเอกสารอ้างอิง ดังนั้น รายงานที่ดีจะต้อง ละเอียด ทันสมัย มีหลักฐานและข้อเท็จจรงิ ท่ีแม่นยํา ชัดเจน เช่ือถือได้ 3. ประเภทของรายงาน 3. 1 รายงานเหตุการณ์ รายงาน รายงานเหตุการณ์เป็นการเขียนรายงานเพื่อ บรรยายเห ตุการณ์ ให้ ผู้ บังคั บบัญ ชาทราบถึ ง รายละเอียดของเหตุการณ์ ตลอดจนวิเคราะห์ สรุปผล และให้ข้อเสนอแนะอย่างครบถ้วนลงใน รายงาน การรายงานเหตุการณ์ประกอบด้วย 4 ส่วน สาํ คัญ ได้แก่ 1.

บทที่ 5 การเขียนรายงานเพื่อการปฏิบัติงานเชิงวิชาชีพ - ดาวน์โหลดหนังสือ | 1-14 หน้า | PubHTML5

โรงเรียนสุโขทัยวิทยาคม จังหวัดสุโขทัย โทรศัพท์ 055-611786 โทรสาร 055-612848 E-mail: สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 38 จัดทำโดย กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT)

แบบฟอร์มรายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง

รูปแบบของการเขียนรายงานการปฏิบัติงาน มี ๓ ประเภท ๑. รายงานขนาดสั้นไม่เป็นทางการ ๑) มีความยาวมาเกิน ๑๐ หน้า ๒) ใช้ในโอกาสเร่งด่วนกับเรื่องราวที่ไม่เป็นทางการนัก ๓) นิยมเขียนสนรูปบันทึก เป็นการภายใน หรือในรูปแบบของจดหมาย ๑. องค์ประกอบของรายงานขนาดสั้น ๑. ตอนต้นหรือส่วนหน้า: กล่าวถึงวัตถุประสงค์หรือสาเหตุที่ต้องทำรายงาน เช่น ได้รับคำสั่ง (อ้างคำสั่ง) กล่าวถึงขอบเขตของการปฏิบัติ และการดำเนินงานอย่างชัดเจน ๒. ส่วนเนื้อหา: กล่าวถึงงานที่ได้ทำโดยสรุปเป็นประเด็นสำคัญ (ใคร ทำอะไร ที่ไหน อย่างไร) ให้ถูกต้อง ๓. ตอนท้ายหรือตอนสรุป: กล่าวสรุปผลของการรายงาน อาจมีข้อเสนอแนะข้อคิด หรือแนวทางการแก้ปัญหา ๒. การเขียนรายงานขนาดยาวแบบเป็นทางการ มี ลักษณะดังนี้: ๑. ความยาวตั้งแต่ ๑๐ หน้ากระดาษขึ้นไป ๒. มีข้อมูลรายละเอียดที่กว้างขวาง ๓. ต้ออาศัยการวิเคราะห์อย่างละเอียด แม่นยำ ชัดเจน ๔. ใช้เป็นหลักฐานอ้างอิงได้ ๕. นิยมจัดทำเป็นรูปเล่ม ๖. มีสถิติ ตาราง รูปถ่าย เอกสารอ้างอิง ส่วนประกอบของ รายงานขนาดยาวแบบเป็นทางการ ๑. หนังสือนำส่งรายงาน: แต่ละหน่วยงานจะกำหนดรูปแบบข อ งหนังสือนำส่งรายงานเอง (อาจเป็นบันทึกข้อความ, จดหมายธุรกิจ ฯลฯ) โดยมีเนื้อหาสรุปย่อรายงาน ละให้ข้อเสนอแนะ ๒.

ส่วนต้นของรายงาน: มีส่วนประกอบดังนี้ ปกนอกและปกใน จะแบ่งกระดาษออกเป็น ๓ ส่วน จากบนลงล่าง ข้อความบนหน้าปกจะประกอบด้วย - ชื่อเรื่อง จัดไว้กึ่งกลาง - ชื่อ - สกุล และตำแหน่งผู้รายงาน ระบุว่าเป็นรายงานที่ใครนำเสนอ - หน่วยงาน และวัน เดือน ปี ที่รายงาน คำนำ: แจ้งให้ทราบว่า เนื้อหารายงานจะเป็นอย่างไร สารบัญ: การบอกให้ทราบว่ารายงานทั้งหมดมีกี่บท อะไรบ้าง โดยเรียงลำดับ ละมีเลขหน้าประกอบเพื่อให้สะดวกในการค้น ๓. ส่วนเนื้อหา: คือ ส่วนของข้อมูลทั้งหมด มีส่วนประกอบดังนี้ ส่วนนำ: เป็นการบอกให้ทราบถึงสาเหตุการทำรายงาน ตลอดจนความเป็นมา วัตถุประสงค์ รวมถึงประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ เนื้อเรื่อง: มีหลายบทตามประเด็นที่ตั้งไว้ ประกอบด้วยข้อเท็จจริง บทวิเคราะห์ ภาพประกอบ ตาราง ฯลฯ บทสรุปและข้อเสนอแนะ: เป็นการสรุปประเด็นของรายงานให้ชัดเจนยิ่งขึ้น และเสนอแนวทางแก้ไขปัญหา หรือพัฒนาสายงานให้ดียิ่งขึ้น ๔. ส่วนท้าย: ประกอบ ๒ ส่วน ดังนี้ บรรณานุกรมหรือเอกสารอ้างอิง: คือรายชื่อหนังสือ หรือเอกสารอ้างอิงทั้งหมดที่ใช้ในการทำรายงาน ภาคผนวก: เป็นรายละเอียดเพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ศึกษา หรือเรื่องที่รายงาน ข้อเสนอแนะ: การเขียนรายงานอย่างยาวจะมีหัวข้อครบหรือไม่ก็ได้ ผู้เขียนควรพิจารณาเลือกหัวข้อตามความเหมาะสม (้ศึกษาตัวอย่างจากหนังสือแบบเรียน หน้า ๑๓๑ - ๑๓๔)

  1. บ้าน สุข สบาย อ พาร์ ท เมน ท์
  2. สมัคร งาน ธุรการ นิคม บางพลี
  3. จ ป พ ย่อ มา จาก อะไร